จังหวัดกระบี่ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น หาดทรายขาว น้ำทะเลใส ปะการัง ถ้ำ และหมู่เกาะน้อยใหญ่กว่า 100 เกาะ โดยความพิเศษของแหล่งท่องเที่ยวคือ ไม่ได้ใกลจากแผ่นดินมาก คือสามารถนั่งเรือหางยาวข้ามไปยังเกาะอื่น ๆ ได้เลย แล้วก็กลับมานอนที่ชายฝั่งได้ สถานที่ท่องเที่ยวที่แนะนำวันนี้คือการไปทัวร์ที่เกาะห้อง ทริปนี้จัดไปแบบ 3 วัน 4 คืน พักผ่อนแบบสบาย ๆ คืนแรกนอนที่เซนทาราแกรนด์กระบี่ เห็นมีช่วงจัดโปรโมชั่นเลยซื้อ voucher ไว้ราคา 3000 บาท/คืน เป็นโรงแรมที่รถเข้าไม่ถึง ต้องไปนั่งเรือที่หาดนพรัตน์ธาราเพื่อไปยังท่าเรือของโรงแรม อารมณ์เหมือนติดเกาะ แต่ในโรงแรมก็มีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครับ สมกับเป็นโรงแรม 5 ดาว (แต่ราคาก็ 5 ดาวไปด้วย) พักผ่อนแบบสบาย ๆ 1 คืน รุ่งขึ้นก็ Checkout แล้วขับรถไปยังสระมรกต ห่างจากอ่าวนางประมาณ 70 ก.ม. จอดรถแล้วเดินเข้าไปประมาณ 1 ก.ม. ก็ถึงตัวสระ แวะนั่งพักผ่อนซักพักก็ออกมาทานข้าวที่ร้านอาหารหน้าอุทยาน แล้วก็ไปต่อที่น้ำตกร้อนซึ่งอยู่ใกล้ ๆ กัน กลับจากน้ำตกร้อนก็ไป Checkin ที่ อ่าวนางคลิฟฟ์บีชรีสอร์ต เป็นโรงแรมที่อยู่บริเวณอ่าวนาง อารมณ์ต่างจากเซนทารามากมาย เนื่องจากอาหารการกินหาง่ายและถูก นอน 1 คืน เช้ามาก็ไปทัวร์เกาะห้อง เกาะแดง ลากูน เป็น one day trip กลับพักผ่อนโรงแรม อีก 1 คืนและ check out ตอนเช้าให้รถโรงแรมไปส่งที่านามบิน กลับ กทม เป็นทริปที่ไม่เหนื่อยมาก เหมาะกับการพักผ่อนจริง ๆ
Think 2 Solution
วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
เขื่อนรัชชประภาและภูเก็ต
จากโปรเจคข้ามชาติ เพื่อนเดิมชวนลงใต้เที่ยวภูเก็ตเมื่อ 6 ปีที่แล้ว มีโอกาสและทุนทรัพย์ไปเยี่ยมซักที เลยไปซะ 4 วัน 3 คืน เที่ยวแถบ ๆ ภูเก็ต ทัวร์แรกไปเลยที่ เขื่อนรัชชประภา กุ้ยหลินเมืองไทย
วันอังคารที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2553
การสร้าง Partitioning Table บน MS Sql Server 2005
ว่าด้วยเรื่องการจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูล MS-SQL Sever 2005 ในกรณีที่องค์กรของท่าน ๆ ทั้งหลาย มีข้อมูลเป็นจำนวนมากเก็บสุม ๆ ไว้เป็นเวลานาน ไฟล์บน Database ที่แบ่งแค่ Data file กับ Log file ตาม default ของการติดตั้ง โตขึ้น ๆ ทุกวัน จน Database Server เริ่มอืด
MS SQL 2005 มี feature ให้เล่น ซึ่งผมคิดว่ามีประโยชน์มาก ๆ นั่นก็คือการจัดสรรค์ข้อมูลลงไฟล์แบบกระจายโดยอัตโนมัติ หรือเรียกว่าการทำ Partioning ครับ หลักการโดยทั่วไปก็คือ การกระจาย Record ออกในแนวราบ ลง File group หลาย ๆ ไฟล์ ที่เราสร้างไว้รองรับโดยอัตโนมัติ รับรองว่าข้อมูลที่เคยมีมากมายมหาศาล ข้อมูลที่ Access แต่ละทีอืดมากมาย จะเร็วขึ้นทันตาเห็น โดยไม่ต้องทำการเพิ่มทรัพยากรด้านฮาร์ดแวร์
ขั้นตอนและวิธ๊การ ขอยกตัวอย่างจาก Adventureworks แล้วกันนะครับ
-- ทำการสร้าง partitioning functions.
-- ตัวอย่างนี้จะทำการสร้าง Partition function แยกส่วนของข้อมูลเป็น 2 ช่วงคือ ข้อมูลก่อนและหลังวันที่ '2005-01-01'
create partition function YearPF(datetime)
as range right for values ('20050101');
-- ต่อมาต้องทำการเพิ่ม file group ลงไปใน database ใครถนัด GUI ก็ใช้ GUI ได้นะครับ case นี้ใช้เป็น Command Line ดังนี้
alter database AdventureWorks add filegroup YearFG1;
alter database AdventureWorks add filegroup YearFG2;
-- ต่อมาก็ต้องทำการ add file ลงแต่ละ file group
alter database AdventureWorks add file (name = 'YearF1', filename = 'C:\Program Files\Microsoft SQL Server\MSSQL.1\MSSQL\Data\AdvWorksF1.ndf') to filegroup YearFG1;
alter database AdventureWorks add file (name = 'YearF2', filename = 'C:\Program Files\Microsoft SQL Server\MSSQL.1\MSSQL\Data\AdvWorksF2.ndf') to filegroup YearFG2;
-- ต่อมาก็ต้องทำการเชื่อม file group เข้ากับ partition function โดยใช้ Partitioning Scheme
create partition scheme YearPS
as partition YearPF to (YearFG1, YearFG2)
-- สุดท้ายก็ทำการสร้าง Table โดยอ้างอิงถึง Partition Scheme ที่เราทำการสร้างไว้ ข้อมูลก็จะถูกกระจายโดยอัตโนมัติ
create table PartitionedOrders
(
Id int not null identity(1,1),
DueDate DateTime not null,
) on YearPS(DueDate) --ข้อมูลจะถูกแบ่งลงแต่ละ file group โดยใช้ field 'DueDate' เป็นเงื่อนไขในการกระจาย Data
-- ทดสอบการ insert ข้อมูล
insert into PartitionedOrders values('2010-09-01')
insert into PartitionedOrders values('1900-02-07')
insert into PartitionedOrders values(getdate())
insert into PartitionedOrders values('1998-10-30')
insert into PartitionedOrders values('2005-01-01')
-- ทีนี้เรามาตรวจสอบดูว่าข้อมูลแต่ละ Record ไปหล่นใส่ partition ไหนบ้างด้วยคำสั่งนี้เลยครับ
select *, $partition.YearPF(DueDate) from PartitionedOrders
-- และสามารถดูจำนวน Partition ที่สร้างไว้ด้วยคำสั่งนี้ครับ
select * from sys.partitions where object_id = object_id('PartitionedOrders')
จากการใช้งานที่ผ่านมาสรุปว่าการ ทำ Partition Table มีประโยชน์มาก ๆ ครับ เหมาะกับฐานข้อมูลที่มี Data เยอะไฟล์บวม Partition Table ช่วยท่านได้ แต่ถ้าท่านมี Storage ที่สามารถแยก แต่ละ Partition ลงฮาร์ดดิสก์คนละก้อนได้ละก็ ประสิทธิภาพของ Database โดยรวมจะเพิ่มขึ้นแบบเห็น ๆ โดยไม่ต้องลงทุนเปลี่ยน Database Server ใหม่ครับ
MS SQL 2005 มี feature ให้เล่น ซึ่งผมคิดว่ามีประโยชน์มาก ๆ นั่นก็คือการจัดสรรค์ข้อมูลลงไฟล์แบบกระจายโดยอัตโนมัติ หรือเรียกว่าการทำ Partioning ครับ หลักการโดยทั่วไปก็คือ การกระจาย Record ออกในแนวราบ ลง File group หลาย ๆ ไฟล์ ที่เราสร้างไว้รองรับโดยอัตโนมัติ รับรองว่าข้อมูลที่เคยมีมากมายมหาศาล ข้อมูลที่ Access แต่ละทีอืดมากมาย จะเร็วขึ้นทันตาเห็น โดยไม่ต้องทำการเพิ่มทรัพยากรด้านฮาร์ดแวร์
ขั้นตอนและวิธ๊การ ขอยกตัวอย่างจาก Adventureworks แล้วกันนะครับ
-- ทำการสร้าง partitioning functions.
-- ตัวอย่างนี้จะทำการสร้าง Partition function แยกส่วนของข้อมูลเป็น 2 ช่วงคือ ข้อมูลก่อนและหลังวันที่ '2005-01-01'
create partition function YearPF(datetime)
as range right for values ('20050101');
-- ต่อมาต้องทำการเพิ่ม file group ลงไปใน database ใครถนัด GUI ก็ใช้ GUI ได้นะครับ case นี้ใช้เป็น Command Line ดังนี้
alter database AdventureWorks add filegroup YearFG1;
alter database AdventureWorks add filegroup YearFG2;
-- ต่อมาก็ต้องทำการ add file ลงแต่ละ file group
alter database AdventureWorks add file (name = 'YearF1', filename = 'C:\Program Files\Microsoft SQL Server\MSSQL.1\MSSQL\Data\AdvWorksF1.ndf') to filegroup YearFG1;
alter database AdventureWorks add file (name = 'YearF2', filename = 'C:\Program Files\Microsoft SQL Server\MSSQL.1\MSSQL\Data\AdvWorksF2.ndf') to filegroup YearFG2;
-- ต่อมาก็ต้องทำการเชื่อม file group เข้ากับ partition function โดยใช้ Partitioning Scheme
create partition scheme YearPS
as partition YearPF to (YearFG1, YearFG2)
-- สุดท้ายก็ทำการสร้าง Table โดยอ้างอิงถึง Partition Scheme ที่เราทำการสร้างไว้ ข้อมูลก็จะถูกกระจายโดยอัตโนมัติ
create table PartitionedOrders
(
Id int not null identity(1,1),
DueDate DateTime not null,
) on YearPS(DueDate) --ข้อมูลจะถูกแบ่งลงแต่ละ file group โดยใช้ field 'DueDate' เป็นเงื่อนไขในการกระจาย Data
-- ทดสอบการ insert ข้อมูล
insert into PartitionedOrders values('2010-09-01')
insert into PartitionedOrders values('1900-02-07')
insert into PartitionedOrders values(getdate())
insert into PartitionedOrders values('1998-10-30')
insert into PartitionedOrders values('2005-01-01')
-- ทีนี้เรามาตรวจสอบดูว่าข้อมูลแต่ละ Record ไปหล่นใส่ partition ไหนบ้างด้วยคำสั่งนี้เลยครับ
select *, $partition.YearPF(DueDate) from PartitionedOrders
-- และสามารถดูจำนวน Partition ที่สร้างไว้ด้วยคำสั่งนี้ครับ
select * from sys.partitions where object_id = object_id('PartitionedOrders')
จากการใช้งานที่ผ่านมาสรุปว่าการ ทำ Partition Table มีประโยชน์มาก ๆ ครับ เหมาะกับฐานข้อมูลที่มี Data เยอะไฟล์บวม Partition Table ช่วยท่านได้ แต่ถ้าท่านมี Storage ที่สามารถแยก แต่ละ Partition ลงฮาร์ดดิสก์คนละก้อนได้ละก็ ประสิทธิภาพของ Database โดยรวมจะเพิ่มขึ้นแบบเห็น ๆ โดยไม่ต้องลงทุนเปลี่ยน Database Server ใหม่ครับ
วันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2553
Canon เปิดตัว EOS 60D
หลังจากรอดูมานานว่ากล้องซีรี่ย์ 2 หลักของ Canon ที่จะมาแทน 50D ตัวเดิมจะออกมาแบบไหนเพิ่มฟังก์ชั่นอะไรบ้าง
รู้สึกว่าไม่ค่อยจะเปลี่ยนจากตัว 50D ตัวเดิมเท่าไหร่แฮะ เท่าที่อ่าน ๆ ดู spec คร่าว ๆ ก็ต่างกันตรง
ก็ยังคงใช้ 50D ต่อไป รอจนกว่าเจ้านายที่บ้านจะอนุมัติซื้อกล้องใหม่ล่ะคร่าบบบบ
รู้สึกว่าไม่ค่อยจะเปลี่ยนจากตัว 50D ตัวเดิมเท่าไหร่แฮะ เท่าที่อ่าน ๆ ดู spec คร่าว ๆ ก็ต่างกันตรง
- Higher resolution sensor (17.9MP vs. 15.1MP)
- Accepts SD, rather than CF memory cards
- No flash sync socket
- Wireless Speedlight control
- Articulated 3:2 high resolution LCD screen
- Plastic body shell (8% weight saving)
- Standard ISO range extends to 6400, rather than 3200
- User-definable Auto ISO upper limit
- HD video recording 1080p20/25/24 or 720p60/50
- New features: in-camera raw conversion, ambience settings, creative filters etc
- No joystick, no multi-flash support, simplified top plate & info panel, only one Custom mode
- Slightly reduced customization options
- Redesigned control layout with slightly fewer buttons
- Lower burst rate
ก็ยังคงใช้ 50D ต่อไป รอจนกว่าเจ้านายที่บ้านจะอนุมัติซื้อกล้องใหม่ล่ะคร่าบบบบ
วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ว่าด้วยการเขียน Blog
เนื่องจากปกติผมทำงานทางด้าน IT มาก็เป็นเวลาพอสมควรละ
ซึ่งการทำงานทั่วไปก็จะเน้นไปทางด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศซึ่งอยูในรูปแบบ In house เป็นส่วนใหญ่มีจ๊อบนอกบ้างประปราย
ข้อมูลส่วนใหญ่ที่นำมาใช้ในงานก็จะมาจากการค้นคว้า อ่านมาจาก Internet บ้าง ปรึกษาเพื่อนที่ทำงานสายเดียวกันบ้าง
แต่ปัญหาก็คือ...ช่วงหลัง ๆ รู้สึกข้อมูลจะเยอะ หัวผมก็สงสัยจะเป็นแบบ Buffer ข้อมูลล้น ลืมบ้าง อันที่เคยเขียนไว้เมื่อนานมาแล้วก็จำไม่ได้ว่าตัวเองเคยเขียน เลยมาโพสไว้ที่ Blog ดีกว่า อย่างน้อยก็ให้ได้มีเครื่องช่วยจำ คงจะเข้ามาอัพเดทเรื่อย ๆ ไม่ล่มเหมือน Blog ก่อน ๆ ที่เคยเขียนล่ะครับ ...สวัสดี
ซึ่งการทำงานทั่วไปก็จะเน้นไปทางด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศซึ่งอยูในรูปแบบ In house เป็นส่วนใหญ่มีจ๊อบนอกบ้างประปราย
ข้อมูลส่วนใหญ่ที่นำมาใช้ในงานก็จะมาจากการค้นคว้า อ่านมาจาก Internet บ้าง ปรึกษาเพื่อนที่ทำงานสายเดียวกันบ้าง
แต่ปัญหาก็คือ...ช่วงหลัง ๆ รู้สึกข้อมูลจะเยอะ หัวผมก็สงสัยจะเป็นแบบ Buffer ข้อมูลล้น ลืมบ้าง อันที่เคยเขียนไว้เมื่อนานมาแล้วก็จำไม่ได้ว่าตัวเองเคยเขียน เลยมาโพสไว้ที่ Blog ดีกว่า อย่างน้อยก็ให้ได้มีเครื่องช่วยจำ คงจะเข้ามาอัพเดทเรื่อย ๆ ไม่ล่มเหมือน Blog ก่อน ๆ ที่เคยเขียนล่ะครับ ...สวัสดี
User Defined Function สำหรับแปลงตัวเลข เป็น อักษรภาษาไทย
ปกติจะเคยเห็น source code ที่ใช้สำหรับแปลงตัวเลขเป็นตัวอักษรกันเยอะแล้วนะครับ
แต่ที่ออฟฟิศผมใช้หลากหลายภาษากันมาก มีอย่างเดียวที่ใช้เหมือนกันก็คือ Database ที่เป็น MS SQL
ทำอย่างไรจะได้ฟังก์ชั่นกลาง ๆ ที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกภาษา ก็ต้องแปลงทุกอย่างให้อยู่ในภาษา SQL ล่ะครับ
ตัวอย่างนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ ในการพัฒนาระบบงานทั่วไปคงจะใช้กันบ่อยนะครับ
ปล. source ตัวนี้โมมาจากภาษา php
CREATE FUNCTION dbo.udf_Num2Thai (@Number1 Money)
RETURNS VARCHAR(8000)
AS BEGIN
DECLARE @number Numeric(38 , 0)
DECLARE @decimal INT
DECLARE @loops INT
DECLARE @bigLoops INT
DECLARE @counter INT
DECLARE @bigCount INT
DECLARE @mod INT
DECLARE @numbersTable TABLE (number CHAR(1), word VARCHAR(10))
DECLARE @numbersDigit TABLE (number CHAR(1), word VARCHAR(10))
DECLARE @inputNumber VARCHAR(38)
DECLARE @inputNumber1 VARCHAR(38)
DECLARE @inputDecimal VARCHAR(2)
DECLARE @charNumber CHAR(1)
DECLARE @outputString VARCHAR(8000)
DECLARE @outputString1 VARCHAR(8000)
DECLARE @outputChar VARCHAR(10)
DECLARE @outputChar1 VARCHAR(10)
DECLARE @nextNumber CHAR(1)
IF @number1 = 0 RETURN 'ศูนย์บาท'
-- insert data for the numbers and words
INSERT INTO @NumbersTable
SELECT ' ', '' UNION ALL SELECT '0', ''
UNION ALL SELECT '1', 'หนึ่ง' UNION ALL SELECT '2', 'สอง'
UNION ALL SELECT '3', 'สาม' UNION ALL SELECT '4', 'สี่'
UNION ALL SELECT '5', 'ห้า' UNION ALL SELECT '6', 'หก'
UNION ALL SELECT '7', 'เจ็ด' UNION ALL SELECT '8', 'แปด'
UNION ALL SELECT '9', 'เก้า'
INSERT INTO @NumbersDigit
SELECT '1', '' UNION ALL SELECT '2', 'สิบ'
UNION ALL SELECT '3', 'ร้อย' UNION ALL SELECT '4', 'พัน'
UNION ALL SELECT '5', 'หมื่น' UNION ALL SELECT '6', 'แสน'
SET @number = FLOOR(@number1)
SET @decimal = FLOOR((@number1 - FLOOR(@number1))* 100)
SET @inputNumber1 = CONVERT(VARCHAR(38), @number)
SET @inputDecimal = CONVERT(VARCHAR(2), @decimal)
SET @bigLoops = FLOOR(LEN(@inputNumber1) / 6) + 1
SET @mod = LEN(@inputNumber1) % 6
SET @bigCount = 1
SET @outputString = ''
WHILE @bigCount <= @bigLoops BEGIN
IF @bigCount = 1 BEGIN
SET @inputNumber = LEFT(@inputNumber1,@mod)
SET @inputNumber1 = RIGHT(@inputNumber1,LEN(@inputNumber1)-@mod)
END
ELSE BEGIN
SET @inputNumber = LEFT(@inputNumber1,6)
IF @bigCount < @bigLoops
SET @inputNumber1 = RIGHT(@inputNumber1,LEN(@inputNumber1)-6)
END
SET @outputString1 = ''
SET @counter = 1
SET @loops = LEN(@inputNumber)
SET @nextNumber = ''
WHILE 1 <= @loops BEGIN
SET @charNumber = SUBSTRING(@inputNumber,@loops,1)
SET @nextNumber = SUBSTRING(@inputNumber,@loops-1,1)
SELECT @outputChar = word FROM @NumbersTable
WHERE @charNumber = number
SELECT @outputChar1 = word FROM @NumbersDigit
WHERE CONVERT(CHAR(1),@counter) = number
IF @charNumber = '1' AND LEN(@inputNumber) > 1 AND @counter = 1 AND @nextNumber > '0'
SET @outputChar = 'เอ็ด'
IF @charNumber = '1' AND LEN(@inputNumber) >= 2 AND @counter = 2 SET @outputChar = ''
IF @charNumber = '2' AND LEN(@inputNumber) >= 2 AND @counter = 2 SET @outputChar = 'ยี่'
IF @charNumber = '0' SET @outputChar1 = ''
SELECT @outputString1 = @outputChar + @outputChar1 + @outputString1,
@counter = @counter + 1,
@loops = @loops - 1
END
IF @bigCount < @bigLoops
IF @outputString1 <> '' SET @outputString = @outputString + @outputString1 + 'ล้าน'
IF @bigCount >= @bigLoops SET @outputString = @outputString + @outputString1 + 'บาท'
SET @bigCount = @bigCount + 1
END
-- Decimal
IF LEN(@inputDecimal)= 1 SET @inputDecimal = '0' + @inputDecimal
SET @inputNumber = @inputDecimal
SET @counter = 1
SET @loops = LEN(@inputNumber)
SET @outputString1 = ''
SET @nextNumber = SUBSTRING(@inputNumber,@loops-1,1)
WHILE 1 <= @loops BEGIN
SET @charNumber = SUBSTRING(@inputNumber,@loops,1)
SELECT @outputChar = word FROM @NumbersTable
WHERE @charNumber = number
SELECT @outputChar1 = word FROM @NumbersDigit
WHERE CONVERT(CHAR(1),@counter) = number
IF @charNumber = '1' AND LEN(@inputNumber) > 1 AND @counter = 1 AND @nextNumber > '0'
SET @outputChar = 'เอ็ด'
IF @charNumber = '1' AND LEN(@inputNumber) >= 2 AND @counter = 2 SET @outputChar = ''
IF @charNumber = '2' AND LEN(@inputNumber) >= 2 AND @counter = 2 SET @outputChar = 'ยี่'
IF @charNumber = '0' SET @outputChar1 = ''
SELECT @outputString1 = @outputChar + @outputChar1 + @outputString1,
@counter = @counter + 1,
@loops = @loops - 1
END
IF @inputDecimal = '00'
SET @outputString = @outPutString + 'ถ้วน'
ELSE SET @outputString = @outputString + @outputString1 + 'สตางค์'
RETURN @outputString -- return the result
END
แต่ที่ออฟฟิศผมใช้หลากหลายภาษากันมาก มีอย่างเดียวที่ใช้เหมือนกันก็คือ Database ที่เป็น MS SQL
ทำอย่างไรจะได้ฟังก์ชั่นกลาง ๆ ที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกภาษา ก็ต้องแปลงทุกอย่างให้อยู่ในภาษา SQL ล่ะครับ
ตัวอย่างนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ ในการพัฒนาระบบงานทั่วไปคงจะใช้กันบ่อยนะครับ
ปล. source ตัวนี้โมมาจากภาษา php
CREATE FUNCTION dbo.udf_Num2Thai (@Number1 Money)
RETURNS VARCHAR(8000)
AS BEGIN
DECLARE @number Numeric(38 , 0)
DECLARE @decimal INT
DECLARE @loops INT
DECLARE @bigLoops INT
DECLARE @counter INT
DECLARE @bigCount INT
DECLARE @mod INT
DECLARE @numbersTable TABLE (number CHAR(1), word VARCHAR(10))
DECLARE @numbersDigit TABLE (number CHAR(1), word VARCHAR(10))
DECLARE @inputNumber VARCHAR(38)
DECLARE @inputNumber1 VARCHAR(38)
DECLARE @inputDecimal VARCHAR(2)
DECLARE @charNumber CHAR(1)
DECLARE @outputString VARCHAR(8000)
DECLARE @outputString1 VARCHAR(8000)
DECLARE @outputChar VARCHAR(10)
DECLARE @outputChar1 VARCHAR(10)
DECLARE @nextNumber CHAR(1)
IF @number1 = 0 RETURN 'ศูนย์บาท'
-- insert data for the numbers and words
INSERT INTO @NumbersTable
SELECT ' ', '' UNION ALL SELECT '0', ''
UNION ALL SELECT '1', 'หนึ่ง' UNION ALL SELECT '2', 'สอง'
UNION ALL SELECT '3', 'สาม' UNION ALL SELECT '4', 'สี่'
UNION ALL SELECT '5', 'ห้า' UNION ALL SELECT '6', 'หก'
UNION ALL SELECT '7', 'เจ็ด' UNION ALL SELECT '8', 'แปด'
UNION ALL SELECT '9', 'เก้า'
INSERT INTO @NumbersDigit
SELECT '1', '' UNION ALL SELECT '2', 'สิบ'
UNION ALL SELECT '3', 'ร้อย' UNION ALL SELECT '4', 'พัน'
UNION ALL SELECT '5', 'หมื่น' UNION ALL SELECT '6', 'แสน'
SET @number = FLOOR(@number1)
SET @decimal = FLOOR((@number1 - FLOOR(@number1))* 100)
SET @inputNumber1 = CONVERT(VARCHAR(38), @number)
SET @inputDecimal = CONVERT(VARCHAR(2), @decimal)
SET @bigLoops = FLOOR(LEN(@inputNumber1) / 6) + 1
SET @mod = LEN(@inputNumber1) % 6
SET @bigCount = 1
SET @outputString = ''
WHILE @bigCount <= @bigLoops BEGIN
IF @bigCount = 1 BEGIN
SET @inputNumber = LEFT(@inputNumber1,@mod)
SET @inputNumber1 = RIGHT(@inputNumber1,LEN(@inputNumber1)-@mod)
END
ELSE BEGIN
SET @inputNumber = LEFT(@inputNumber1,6)
IF @bigCount < @bigLoops
SET @inputNumber1 = RIGHT(@inputNumber1,LEN(@inputNumber1)-6)
END
SET @outputString1 = ''
SET @counter = 1
SET @loops = LEN(@inputNumber)
SET @nextNumber = ''
WHILE 1 <= @loops BEGIN
SET @charNumber = SUBSTRING(@inputNumber,@loops,1)
SET @nextNumber = SUBSTRING(@inputNumber,@loops-1,1)
SELECT @outputChar = word FROM @NumbersTable
WHERE @charNumber = number
SELECT @outputChar1 = word FROM @NumbersDigit
WHERE CONVERT(CHAR(1),@counter) = number
IF @charNumber = '1' AND LEN(@inputNumber) > 1 AND @counter = 1 AND @nextNumber > '0'
SET @outputChar = 'เอ็ด'
IF @charNumber = '1' AND LEN(@inputNumber) >= 2 AND @counter = 2 SET @outputChar = ''
IF @charNumber = '2' AND LEN(@inputNumber) >= 2 AND @counter = 2 SET @outputChar = 'ยี่'
IF @charNumber = '0' SET @outputChar1 = ''
SELECT @outputString1 = @outputChar + @outputChar1 + @outputString1,
@counter = @counter + 1,
@loops = @loops - 1
END
IF @bigCount < @bigLoops
IF @outputString1 <> '' SET @outputString = @outputString + @outputString1 + 'ล้าน'
IF @bigCount >= @bigLoops SET @outputString = @outputString + @outputString1 + 'บาท'
SET @bigCount = @bigCount + 1
END
-- Decimal
IF LEN(@inputDecimal)= 1 SET @inputDecimal = '0' + @inputDecimal
SET @inputNumber = @inputDecimal
SET @counter = 1
SET @loops = LEN(@inputNumber)
SET @outputString1 = ''
SET @nextNumber = SUBSTRING(@inputNumber,@loops-1,1)
WHILE 1 <= @loops BEGIN
SET @charNumber = SUBSTRING(@inputNumber,@loops,1)
SELECT @outputChar = word FROM @NumbersTable
WHERE @charNumber = number
SELECT @outputChar1 = word FROM @NumbersDigit
WHERE CONVERT(CHAR(1),@counter) = number
IF @charNumber = '1' AND LEN(@inputNumber) > 1 AND @counter = 1 AND @nextNumber > '0'
SET @outputChar = 'เอ็ด'
IF @charNumber = '1' AND LEN(@inputNumber) >= 2 AND @counter = 2 SET @outputChar = ''
IF @charNumber = '2' AND LEN(@inputNumber) >= 2 AND @counter = 2 SET @outputChar = 'ยี่'
IF @charNumber = '0' SET @outputChar1 = ''
SELECT @outputString1 = @outputChar + @outputChar1 + @outputString1,
@counter = @counter + 1,
@loops = @loops - 1
END
IF @inputDecimal = '00'
SET @outputString = @outPutString + 'ถ้วน'
ELSE SET @outputString = @outputString + @outputString1 + 'สตางค์'
RETURN @outputString -- return the result
END
Using PIVOT and UNPIVOT สำหรับ MS SQL Server นะครับ
PIVOT แปลง่าย ๆ คือ Table ที่มีอยู่ จะเอาแต่ละ Row ของมันมาแปลงเป็นColumn ซะ
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
USE AdventureWorks;
GO
SELECT VendorID, [164] AS Emp1, [198] AS Emp2, [223] AS Emp3, [231] AS Emp4, [233] AS Emp5
FROM
(SELECT PurchaseOrderID, EmployeeID, VendorID
FROM Purchasing.PurchaseOrderHeader) p
PIVOT
(
COUNT (PurchaseOrderID)
FOR EmployeeID IN
( [164], [198], [223], [231], [233] )
) AS pvt
ORDER BY VendorID
ผลลัพธ์ที่ไ้ด้จะเป็นแบบข้างล่างนี้
VendorID Emp1 Emp2 Emp3 Emp4 Emp5
1 4 3 5 4 4
2 4 1 5 5 5
3 4 3 5 4 4
4 4 2 5 5 4
5 5 1 5 5 5
ส่วนในทางกลับกัน ถ้าข้อมูลที่มีอยู่เก็บอยู่ในรูปแบบ Column
แล้ว User ไม่พอใจอยากให้มันแสดงเป็น Row แทนซะงั้น (ความพอดีไม่มีในโลก)
ไม่เป็นไร ให้ Unpivot ช่วย ตามตัวอย่าง
--Create the table and insert values as portrayed in the previous example.
CREATE TABLE pvt (VendorID int, Emp1 int, Emp2 int,
Emp3 int, Emp4 int, Emp5 int)
GO
INSERT INTO pvt VALUES (1,4,3,5,4,4)
INSERT INTO pvt VALUES (2,4,1,5,5,5)
INSERT INTO pvt VALUES (3,4,3,5,4,4)
INSERT INTO pvt VALUES (4,4,2,5,5,4)
INSERT INTO pvt VALUES (5,5,1,5,5,5)
GO
--Unpivot the table.
SELECT VendorID, Employee, Orders
FROM
(SELECT VendorID, Emp1, Emp2, Emp3, Emp4, Emp5
FROM pvt) p
UNPIVOT
(Orders FOR Employee IN
(Emp1, Emp2, Emp3, Emp4, Emp5)
)AS unpvt
GO
ผลลัพธ์ที่ได้ ก็จะออกมาตามที่ท่าน User ต้องการครับ
VendorID Employee Orders
1 Emp1 4
1 Emp2 3
1 Emp3 5
1 Emp4 4
1 Emp5 4
2 Emp1 4
2 Emp2 1
2 Emp3 5
2 Emp4 5
2 Emp5 5
...
หวังว่าพอจะอ่านเข้าใจ เขียนแบบสั้น ๆ ห้วน ๆ ตามประสาโปรแกรมเมอร์ขรี้เกียจ จบดีกว่า..
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)